เส้น

รายละเอียดตัวชี้วัด  KPI  Profile

วิทยาลัยเทคนิคยะลา   สำนักงานคณะกรรมการอาชีวศึกษา    กระทรวงศึกษาธิการ

1. ตัวชี้วัด :

KPI  :  1   ร้อยละของจำนวนนักศึกษาที่เพิ่มขึ้น

KPI  :  2     จำนวนนักศึกษามีรายได้ระหว่างเรียน

2. เป้าหมาย/หน่วยวัด :

เป้าหมายรวม  25 %  ปี  2549 = 5% , ปี  2550 = 10% , ปี  2551 = 15% ปี  2552 = 20 % , ปี  2553 = 25%

เป้าหมายรวม  250  คน  ปี 2549  จำนวน 30  คน ปี 2550  จำนวน  40  คน  ปี 2551  จำนวน 50  คน  ปี 2552  จำนวน 60  คน  ปี 2553  จำนวน 70  คน

3. น้ำหนัก  :

3

3

4. อธิบาย  :

จำนวนนักศึกษาที่เพิ่มขึ้นหมายถึง  จำนวนนักศึกษา ระดับ ปวช.1

ระดับ ปวส.1  และ  ปทส.1  เมื่อเปรียบเทียบกับจำนวนนักศึกษาในปี 2549

รายได้ระหว่างเรียน  หมายถึง  รายได้ของนักศึกษาที่เกิดจากการทำงานพิเศษในระหว่างที่กำลังศึกษาในสถานศึกษา

5.  สูตรการคำนวณ  :

จำนวนนักศึกษาในแต่ละปี  -  จำนวนนักศึกษาในปี 2549

จำนวนนักศึกษาในปี  2549

-

6. แหล่งข้อมูล / วิธีการจัดเก็บข้อมูล  :

งานทะเบียน

งานแนะแนวอาชีพและจัดหางาน

7.  เงื่อนไขแห่งความสำเร็จ  :

-

-

8. ข้อมูลพื้นฐานประกอบตัวชี้วัด  :

รายงานผลการรับนักศึกษา ระดับ ปวช.1 , ปวส.1 และปทส.1 ของปีการศึกษาในแต่ละปี

-

9. ผู้กำกับดูแลตัวชี้วัด  :  ตำแหน่ง

รองผู้อำนวยการวิทยาลัย    ฝ่ายส่งเสริมการศึกษา

รองผู้อำนวยการวิทยาลัย  ฝ่ายกิจการนักเรียนนักศึกษา

10. เบอร์ติดต่อ       :

 

 

ผู้จัดเก็บข้อมูล  :  ชื่อ ,  ตำแหน่ง

หัวหน้างานทะเบียน

หัวหน้างานแนะแนวอาชีพและจัดหางาน

เบอร์ติดต่อ

 

 

 

1. ตัวชี้วัด :

KPI  :   3  จำนวนนักศึกษาที่ได้รับทุนเรียนฟรี

KPI  :   4  ร้อยละของจำนวนนักศึกษาที่มีงานทำหลังสำเร็จการศึกษา

2. เป้าหมาย/หน่วยวัด :

เป้าหมายรวม  45  คน  ปี  2549 = 5  คน , ปี  2550 = 5  คน,

ปี  2551 = 10  คน , ปี  2552 = 10  คน , ปี  2553 =  15  คน

เป้าหมายรวม  85%  ปี 2549 =  70 % , ปี 2550 =  75 % ,

ปี 2551 =  80 %  , ปี 2552 =  85 %  , ปี 2553 =  85 %

3. น้ำหนัก  :

2

2

4. อธิบาย  :

จำนวนนักศึกษาที่ได้รับทุนเรียนฟรี  หมายถึง  นักศึกษาที่ได้รับทุน เรียนฟรี  จากสถานศึกษาหรือบุคคล/หน่วยงานภายนอก ตลอดหลักสูตร จนสำเร็จการศึกษา

จำนวนนักศึกษา  หมายถึง  จำนวนนักศึกษาที่สำเร็จการศึกษาและมีงานทำในแต่ละปีการศึกษา

5.  สูตรการคำนวณ  :

 

  จำนวนนักศึกษามีงานทำหลังสำเร็จการศึกษา

 จำนวนนักศึกษาที่สำเร็จการศึกษาแต่ละระดับ

6. แหล่งข้อมูล / วิธีการจัดเก็บข้อมูล  :

งานแนะแนวอาชีพและจัดหางาน

งานแนะแนวอาชีพและจัดหางาน

7.  เงื่อนไขแห่งความสำเร็จ  :

-

-

8. ข้อมูลพื้นฐานประกอบตัวชี้วัด  :

-

-

9. ผู้กำกับดูแลตัวชี้วัด  :  ตำแหน่ง

รองผู้อำนวยการวิทยาลัย  ฝ่ายกิจการนักเรียนนักศึกษา

รองผู้อำนวยการวิทยาลัย   ฝ่ายกิจการนักเรียนนักศึกษา

10. เบอร์ติดต่อ       :

 

 

ผู้จัดเก็บข้อมูล  :  ชื่อ ,  ตำแหน่ง

หัวหน้างานแนะแนวอาชีพและจัดหางาน

หัวหน้างานแนะแนวอาชีพและจัดหางาน

เบอร์ติดต่อ

 

 

 

1. ตัวชี้วัด :

KPI  : 5   จำนวนนักศึกษาที่ได้รับการเทียบโอนประสบการณ์

KPI  : 6.  จำนวนหลักสูตรที่เพิ่ม

2. เป้าหมาย/หน่วยวัด :

เป้าหมายรวม  100  คน  ปี  2549 = 10  คน , ปี  2550 = 10  คน,

ปี  2551 = 20  คน , ปี  2552 = 30  คน , ปี  2553 =  30  คน

เป้าหมายรวม  5 หลักสูตร  ปี 2549 =  1  หลักสูตร,

ปี 2550 =   1  หลักสูตร ,   ปี 2551 =   1  หลักสูตร ,

ปี 2552 =   1  หลักสูตร,   ปี 2553 =    1  หลักสูตร

3. น้ำหนัก  :

2

1

4. อธิบาย  :

การเทียบโอนประสบการณ์  หมายถึง การนำประสบการณ์มาเทียบเป็นระดับคะแนนมาเทียบเป็นหน่วยกิตในระดับวิชา

หลักสูตรที่เปิดเพิ่ม  หมายถึง  หลักสูตรที่เปิดเพิ่มขึ้น นอกเหนือจากหลักสูตรที่เปิดอยู่เดิม

5.  สูตรการคำนวณ  :

 

 

6. แหล่งข้อมูล / วิธีการจัดเก็บข้อมูล  :

งานวัดผลและประเมินผล   ,งานหลักสูตรและการสอน

งานหลักสูตรและการสอน

7.  เงื่อนไขแห่งความสำเร็จ  :

-

-

8. ข้อมูลพื้นฐานประกอบตัวชี้วัด  :

-

-

9. ผู้กำกับดูแลตัวชี้วัด  :  ตำแหน่ง

รองผู้อำนวยการวิทยาลัย    ฝ่ายวิชาการ

รองผู้อำนวยการวิทยาลัย  ฝ่ายวิชาการ

10. เบอร์ติดต่อ       :

 

 

ผู้จัดเก็บข้อมูล  :  ชื่อ ,  ตำแหน่ง

หัวหน้างานหลักสูตรและการสอน

หัวหน้างานหลักสูตรและการสอน

เบอร์ติดต่อ

 

 

 

1. ตัวชี้วัด :

KPI  : 7.  จำนวนหลักสูตรที่ได้รับการพัฒนา

KPI  : 8. ร้อยละของครูที่ทำแผนการสอนย่อและแผนการสอนแบบมุ่งเน้นสมรรถนะ

2. เป้าหมาย/หน่วยวัด :

เป้าหมายรวม  5 หลักสูตร  ปี 2549 =  1  หลักสูตร,

ปี 2550 =   1  หลักสูตร ,   ปี 2551 =   1  หลักสูตร ,

ปี 2552 =   1  หลักสูตร,   ปี 2553 =    1  หลักสูตร

เป้าหมายรวม  100  %  ปี  2549 = 70 % , ปี  2550 = 80 %,

ปี  2551 = 90  % ,   ปี  2552 =   95  % , ปี  2553 =  100  %

3. น้ำหนัก  :

1

3

4. อธิบาย  :

หลักสูตรที่พัฒนา  หมายถึง  หลักสูตรที่ปรับให้ลอดคล้องกับความต้องการของท้องถิ่นและตลาดแรงงาน

แผนการสอนแบบมุ่งเน้นสมรรถนะ  หมายถึง   แผนการสอนที่ครูจัดทำขึ้นเพื่อให้ผู้เรียนมีทักษะในการทำงาน  ความรู้ความเข้าใจในงานที่ทำ  และมีกิจนิสัยหรือเจตคติในการทำงานที่ก่อให้เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผล

5.  สูตรการคำนวณ  :

 

จำนวนแผนการสอนแบบมุ่งเน้นสมรรถนะ

              จำนวนแผนการสอนทั้งหมด

6. แหล่งข้อมูล / วิธีการจัดเก็บข้อมูล  :

งานหลักสูตรและการสอน

งานหลักสูตรและการสอน

7.  เงื่อนไขแห่งความสำเร็จ  :

-

-

8. ข้อมูลพื้นฐานประกอบตัวชี้วัด  :

-

-

9. ผู้กำกับดูแลตัวชี้วัด  :  ตำแหน่ง

รองผู้อำนวยการวิทยาลัย ฝ่ายวิชาการ

รองผู้อำนวยการวิทยาลัย  ฝ่ายวิชาการ

10. เบอร์ติดต่อ       :

 

 

ผู้จัดเก็บข้อมูล  :  ชื่อ ,  ตำแหน่ง

หัวหน้างานหลักสูตรและการสอน

หัวหน้างานหลักสูตรและการสอน

เบอร์ติดต่อ

 

 

 

1. ตัวชี้วัด :

KPI  : 9. ร้อยละของครูที่ทำแผนประเมินผลตามสภาพจริง

KPI  : 10. ร้อยละของผู้เรียนที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนผ่านเกณฑ์ของแต่ละรายวิชา

2. เป้าหมาย/หน่วยวัด :

เป้าหมายรวม  100  %  ปี  2549 = 80 % , ปี  2550 = 85 %,

ปี  2551 = 90  % ,   ปี  2552 =   95  % , ปี  2553 =  100  %

เป้าหมายรวม  80  %  ปี  2549 = 60 % , ปี  2550 = 65 %,

ปี  2551 = 70  % ,   ปี  2552 =   75  % , ปี  2553 =  80  %

3. น้ำหนัก  :

3

4

4. อธิบาย  :

แผนประเมินผลตามสภาพจริงหมายถึง  แผนการวัดและประเมินผลผู้เรียนที่สะท้อนถึงความรู้  ความสามารถที่แท้จริง  มุ่งหาจุดเด่น  จุดด้อย  เพื่อส่งเสริมความรู้ความสามารถ  ไม่เน้นประเมินเฉพาะทักษะพื้นฐาน แต่เน้นการประเมินงานที่เป็นลักษณะเฉพาะของตนเองด้วยวิธีการประเมินที่หลากหลาย

ผู้เรียน  หมายถึง  ผู้ที่กำลังศึกษาในหลักสูตร ปวช.  ปวส. และ ปทส. ทุกช่วงชั้นปี ของแต่ละสาขาวิชา

5.  สูตรการคำนวณ  :

 

จำนวนผู้เรียนที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนผ่านเกณฑ์ของแต่ละรายวิชา

                จำนวนผู้เรียนทั้งหมดในแต่ละรายวิชา     

6. แหล่งข้อมูล / วิธีการจัดเก็บข้อมูล  :

งานวัดผลและประเมินผล

งานวัดผลและประเมินผล

7.  เงื่อนไขแห่งความสำเร็จ  :

-

-

8. ข้อมูลพื้นฐานประกอบตัวชี้วัด  :

-

-

9. ผู้กำกับดูแลตัวชี้วัด  :  ตำแหน่ง

รองผู้อำนวยการวิทยาลัย ฝ่ายวิชาการ

รองผู้อำนวยการวิทยาลัย  ฝ่ายวิชาการ

10. เบอร์ติดต่อ       :

 

 

ผู้จัดเก็บข้อมูล  :  ชื่อ ,  ตำแหน่ง

หัวหน้างานวัดผลและประเมินผล

หัวหน้างานวัดผลและประเมินผล

เบอร์ติดต่อ

 

 

 

1. ตัวชี้วัด :

KPI  : 11. ร้อยละของผู้สำเร็จการศึกษาที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามเกณฑ์

KPI  : 12. ร้อยละของครูที่ได้รับการนิเทศติดตามการเรียนการสอน

2. เป้าหมาย/หน่วยวัด :

เป้าหมายรวม  80  %  ปี  2549 = 60 % , ปี  2550 = 65 %,

ปี  2551 = 70  % ,   ปี  2552 =   75  % , ปี  2553 =  80  %

เป้าหมายรวม  100  %  ปี  2549 = 100 % , ปี  2550 = 100 %,

ปี  2551 =   100  % ,   ปี  2552  =  100  % ,   ปี  2553 =  100  %

3. น้ำหนัก  :

4

3

4. อธิบาย  :

1. ผู้สำเร็จการศึกษา หมายถึง นักศึกษาระดับ ปวช.  3  , ปวส.2  และ ปทส.2  ที่มีผลการเรียนตามเกณฑ์ของแต่ละช่วงชั้น

การนิเทศการเรียนการสอน  หมายถึง   การติดตาม  การให้คำแนะนำปรึกษาเกี่ยวกับการเรียนการสอน  โดยคณะกรรมการฯ

5.  สูตรการคำนวณ  :

จำนวนผู้สำเร็จการศึกษาที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามเกณฑ์

         จำนวนผู้สำเร็จการศึกษาทั้งหมด

 

6. แหล่งข้อมูล / วิธีการจัดเก็บข้อมูล  :

งานวัดผลและประเมินผล

งานหลักสูตรและการสอน

7.  เงื่อนไขแห่งความสำเร็จ  :

-

-

8. ข้อมูลพื้นฐานประกอบตัวชี้วัด  :

-

-

9. ผู้กำกับดูแลตัวชี้วัด  :  ตำแหน่ง

รองผู้อำนวยการวิทยาลัย ฝ่ายวิชาการ

รองผู้อำนวยการวิทยาลัย  ฝ่ายวิชาการ

10. เบอร์ติดต่อ       :

 

 

ผู้จัดเก็บข้อมูล  :  ชื่อ ,  ตำแหน่ง

หัวหน้างานวัดผลและประเมินผล

หัวหน้าคณะวิชา

เบอร์ติดต่อ

 

 

 

1. ตัวชี้วัด :

KPI  : 13. จำนวนชุดการเรียนการสอน (สื่อการสอน)

KPI  : 14. ร้อยละของผู้สำเร็จการศึกษาที่ได้ศึกษาต่อหรือมีงานทำ

2. เป้าหมาย/หน่วยวัด :

เป้าหมายรวม  170  ชิ้น/ชุด    ปี  2549 = 20  ชิ้น  , ปี  2550 = 25  ชิ้น,   ปี  2551 =  30  ชิ้น ,   ปี  2552 =   35  ชิ้น , ปี  2553 =  40  ชิ้น

เป้าหมายรวม  80  %  ปี  2549 =  70 % , ปี  2550  =  70 %,

ปี  2551 = 75  % ,   ปี  2552 =   80  % , ปี  2553 =  80  %

3. น้ำหนัก  :

3

2

4. อธิบาย  :

ชุดการเรียนการสอน  หมายถึง  ชุดเอกสารที่จัดทำขึ้นเพื่อใช้ประกอบการเรียนการสอนของครู และการเรียนรู้ของผู้เรียน แบบสำเร็จรูป

ผู้สำเร็จการศึกษา  หมายถึง นักศึกษาที่สำเร็จการศึกษาหลักสูตร ปวช.  ปวส.  และ ปทส. ที่ได้ศึกษาต่อในระดับสูง  หรือมีงานทำ

5.  สูตรการคำนวณ  :

 

จำนวนนักศึกษาที่สำเร็จการศึกษาที่ศึกษาต่อหรือมีงานทำ

          จำนวนนักศึกษาที่สำเร็จการศึกษาทั้งหมด

6. แหล่งข้อมูล / วิธีการจัดเก็บข้อมูล  :

งานสื่อการเรียนการสอน

งานแนะแนวอาชีพและจัดหางาน

7.  เงื่อนไขแห่งความสำเร็จ  :

-

-

8. ข้อมูลพื้นฐานประกอบตัวชี้วัด  :

-

-

9. ผู้กำกับดูแลตัวชี้วัด  :  ตำแหน่ง

รองผู้อำนวยการวิทยาลัย ฝ่ายวิชาการ

รองผู้อำนวยการวิทยาลัย  ฝ่ายกิจการนักเรียนนักศึกษา

10. เบอร์ติดต่อ       :

 

 

ผู้จัดเก็บข้อมูล  :  ชื่อ ,  ตำแหน่ง

หัวหน้างานสื่อการเรียนการสอน

หัวหน้างานแนะแนวอาชีพและจัดหางาน

เบอร์ติดต่อ

 

 

 

1. ตัวชี้วัด :

KPI  : 15. ร้อยละของนักศึกษาที่มีคุณธรรมจริยธรรม คุณลักษณะที่พึ่งประสงค์

KPI  : 16. ร้อยละของนักศึกษาที่เข้าร่วมกิจกรรมทั้งภายในและภายนอกสถานศึกษา

2. เป้าหมาย/หน่วยวัด :

เป้าหมายรวม  80  %  ปี  2549 =  70 % , ปี  2550  =  70 %,

ปี  2551 = 75  % ,   ปี  2552 =   80  % , ปี  2553 =  80  %

เป้าหมายรวม  80  %  ปี  2549 =  60 % , ปี  2550  =  65 %,

ปี  2551 =  70  % ,   ปี  2552 =   75  % , ปี  2553 =  80  %

3. น้ำหนัก  :

3

2

4. อธิบาย  :

นักศึกษาที่มัคุณธรรม  จริยธรรม  และคุณลักษณะที่พึงประสงค์ หมายถึง นักศึกษาที่มีคุณลักษณะด้านความรับผิดชอบ  ความมีวินัย  ความซื่อสัตย์  ความเมตตากรุณา  ความขยัน  อดทน  การมีมนุษยสัมพันธ์ มีบุคลิกภาพที่เหมาะสม

กิจกรรม หมายถึง  กิจกรรมเสริมหลักสูตรพัฒนาผู้เรียน  ด้านวิชาการ  คุณธรรม  จริยธรรม  ค่านิยมที่ดีงานในวิชาชีพ  บุคลิกภาพ อนุรักษ์ธรรมชาติสิ่งแวดล้อม  วัฒนธรรม  ประเพณี  ทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม  ทั้งภายในและภายนอกสถานศึกษา

5.  สูตรการคำนวณ  :

จำนวนนักศึกษาที่ไม่ถูกลงโทษในด้านคุณธรรมจริยธรรม

                       จำนวนนักศึกษาทั้งหมด

จำนวนนักศึกษาที่เข้าร่วมกิจกรรมขององค์การวิชาชีพ

                           จำนวนนักศึกษาทั้งหมด

6. แหล่งข้อมูล / วิธีการจัดเก็บข้อมูล  :

งานกิจกรรมนักเรียนนักศึกษา

งานกิจกรรมนักเรียนนักศึกษา

7.  เงื่อนไขแห่งความสำเร็จ  :

-

-

8. ข้อมูลพื้นฐานประกอบตัวชี้วัด  :

-

-

9. ผู้กำกับดูแลตัวชี้วัด  :  ตำแหน่ง

รองผู้อำนวยการวิทยาลัย  ฝ่ายกิจการนักเรียนนักศึกษา

รองผู้อำนวยการวิทยาลัย  ฝ่ายกิจการนักเรียนนักศึกษา

10. เบอร์ติดต่อ       :

 

 

ผู้จัดเก็บข้อมูล  :  ชื่อ ,  ตำแหน่ง

หัวหน้างานกิจกรรมนักเรียนนักศึกษา

หัวหน้างานกิจกรรมนักเรียนนักศึกษา

เบอร์ติดต่อ

 

 

 

 

 

 

1. ตัวชี้วัด :

KPI  : 17. ร้อยละของครูที่ทำงานวิจัยในชั้นเรียน

KPI  : 18. จำนวนงานวิจัยที่นำไปสู่การปฏิบัติจริง/เผยแพร่สู่สาธารณะ

2. เป้าหมาย/หน่วยวัด :

เป้าหมายรวม  100  %  ปี  2549 =  70 % , ปี  2550  =  80 %,

ปี  2551 = 90  % ,   ปี  2552 =   95  % , ปี  2553 =  100  %

เป้าหมายรวม  70  ชิ้น  ปี  2549 =  10  ชิ้น,  ปี  2550  =  10  ชิ้น

ปี  2551 =  15  ชิ้น,   ปี  2552 =   15  ชิ้น, ปี  2553 =  20  ชิ้น

3. น้ำหนัก  :

2

2

4. อธิบาย  :

งานวิจัยในชั้นเรียน  หมายถึง  งานวิจัยที่ใช้กระบวนการแสวงหาความรู้  เพื่อแก้ปัญหาหรือพัฒนากระบวนการเรียน  การสอนที่เกิดขึ้นในชั้นเรียนอย่างมีระบบ

 

5.  สูตรการคำนวณ  :

จำนวนครูที่ทำวิจัยในชั้นเรียน

        จำนวนครูทั้งหมด 

 

 

6. แหล่งข้อมูล / วิธีการจัดเก็บข้อมูล  :

งานวิจัยและพัฒนา

งานวิจัยและพัฒนา

7.  เงื่อนไขแห่งความสำเร็จ  :

-

-

8. ข้อมูลพื้นฐานประกอบตัวชี้วัด  :

-

-

9. ผู้กำกับดูแลตัวชี้วัด  :  ตำแหน่ง

รองผู้อำนวยการวิทยาลัย  ฝ่ายวางแผนและพัฒนา

รองผู้อำนวยการวิทยาลัย  ฝ่ายวางแผนและพัฒนา

10. เบอร์ติดต่อ       :

 

 

ผู้จัดเก็บข้อมูล  :  ชื่อ ,  ตำแหน่ง

หัวหน้างานวิจัยและพัฒนา

หัวหน้างานวิจัยและพัฒนา

เบอร์ติดต่อ

 

 

 

1. ตัวชี้วัด :

KPI  : 19. จำนวนชิ้นงาน/นวตกรรม   วิจัย  ของครูและนักศึกษา

KPI  : 20. จำนวนสาขาวิชาที่ได้รับการพัฒนาให้สอดคล้องกับความต้องการของชุมชน/ท้องถิ่น

2. เป้าหมาย/หน่วยวัด :

เป้าหมายรวม  9  ชิ้น  ปี  2549 =  1  ชิ้น,  ปี  2550  =  1  ชิ้น

ปี  2551 =  2  ชิ้น,   ปี  2552 =   2  ชิ้น,  ปี  2553 =  3  ชิ้น

เป้าหมายรวม  9  สาขา  ปี  2549 =  1  สาขา,  ปี  2550  =  1  สาขา

ปี  2551 =  2  สาขา,   ปี  2552 =   2  สาขา, ปี  2553 =  3  สาขา

3. น้ำหนัก  :

2

1

4. อธิบาย  :

ชิ้นงาน/นวตกรรม  วิจัย  หมายถึง  ผลงานซึ่งเกิดจากกระบวนการเรียนรู้ของนักศึกษา และครูร่วมกันจัดทำขึ้น  เพื่อค้นคว้าพัฒนาแก้ปัญหาในกระบวนการจัดการเรียนการสอน  หรือวัตถุประสงค์อย่างอื่น

สาขาวิชาที่ได้รับการพัฒนาให้สอดคล้องกับความต้องการของชุมชน/ท้องถิ่น  หมายถึง  การพัฒนาหลักสูตร  วิธีการสอน  หรือการคัดเลือกผู้เรียนให้ตรงและสอดคล้องกับความต้องการ

5.  สูตรการคำนวณ  :

 

 

6. แหล่งข้อมูล / วิธีการจัดเก็บข้อมูล  :

งานวิจัยและพัฒนา  , งานสิ่งประดิษฐ์คนรุ่นใหม่

งานหลักสูตรและการสอน

7.  เงื่อนไขแห่งความสำเร็จ  :

-

-

8. ข้อมูลพื้นฐานประกอบตัวชี้วัด  :

-

-

9. ผู้กำกับดูแลตัวชี้วัด  :  ตำแหน่ง

รองผู้อำนวยการวิทยาลัย  ฝ่ายวางแผนและพัฒนา

รองผู้อำนวยการวิทยาลัย  ฝ่ายวิชาการ

10. เบอร์ติดต่อ       :

 

 

ผู้จัดเก็บข้อมูล  :  ชื่อ ,  ตำแหน่ง

หัวหน้างานวิจัยและพัฒนา

หัวหน้างานหลักสูตรและการสอน

เบอร์ติดต่อ

 

 

 

 

 

1. ตัวชี้วัด :

KPI  : 21. ร้อยละของนักศึกษาที่ผ่านการประเมินมาตรฐานวิชาชีพ

KPI  : 22. จำนวนตัวชี้วัดที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน

2. เป้าหมาย/หน่วยวัด :

เป้าหมายรวม  85 %   ปี  2549 =  70 %,  ปี  2550  =  75 %

ปี  2551 =  80 %,   ปี  2552 =   80 %,  ปี  2553 =  85 %

เป้าหมายรวม  34 ตัวบ่งชี้  ปี  2549 =  34 ตัวบ่งชี้,  ปี  2550  =  34 ตัวบ่งชี้

ปี  2551 =  34 ตัวบ่งชี้,   ปี  2552 =   34 ตัวบ่งชี้, ปี  2553 =  34 ตัวบ่งชี้

3. น้ำหนัก  :

1

1

4. อธิบาย  :

มาตรฐานวิชาชีพ  หมายถึง  มาตรฐานที่กำหนดให้สอดคล้องกับสมรรถนะที่สถานประกอบการต้องการ  โดยให้ผู้เรียนทำการทดสอบโดยเครื่องมือประเมินที่มีมาตรฐาน

มาตรฐาน    หมายถึง  มาตรฐาน ตัวชี้วัด ที่กำหนดโดยสำนักงานรับรองและประเมินคุณภาพสถานศึกษา  (สมศ.)

5.  สูตรการคำนวณ  :

จำนวนนักศึกษาที่ผ่านการประเมินมาตรฐานวิชาชีพ

           จำนวนนักศึกษาที่สำเร็จการศึกษา

 

6. แหล่งข้อมูล / วิธีการจัดเก็บข้อมูล  :

งานวัดผลและประเมินผล

งานประกันคุณภาพ

7.  เงื่อนไขแห่งความสำเร็จ  :

-

-

8. ข้อมูลพื้นฐานประกอบตัวชี้วัด  :

-

-

9. ผู้กำกับดูแลตัวชี้วัด  :  ตำแหน่ง

รองผู้อำนวยการวิทยาลัย  ฝ่ายวิชาการ

รองผู้อำนวยการวิทยาลัย  ฝ่ายวางแผนและพัฒนา

10. เบอร์ติดต่อ       :

 

 

ผู้จัดเก็บข้อมูล  :  ชื่อ ,  ตำแหน่ง

หัวหน้างานวัดผลและประเมินผล

หัวหน้างานประกันคุณภาพ

เบอร์ติดต่อ

 

 

 

1. ตัวชี้วัด :

KPI  : 23. จำนวนครั้งที่อบรมวิชาชีพหรือบริการวิชาชีพ

KPI  : 24. จำนวนคนที่เข้ารับการอบรมวิชาชีพหรือบริการวิชาชีพ

2. เป้าหมาย/หน่วยวัด :

เป้าหมายรวม  75 ครั้ง   ปี  2549 =  15 ครั้ง,  ปี  2550  =  75 ครั้ง

ปี  2551 =  75 ครั้ง,   ปี  2552 =   75 ครั้ง,  ปี  2553 =  75 ครั้ง

เป้าหมายรวม  1,000 คน  ปี  2549 =  200  คน,  ปี  2550  =  200  คน

ปี  2551 =  200  คน,   ปี  2552 =   200  คน,  ปี  2553 =  200  คน

3. น้ำหนัก  :

1

1

4. อธิบาย  :

การอบรมวิชาชีพ  หมายถึง  การสอนหรือการฝึกให้ผู้เรียนมีความรู้ เพื่อนำไปประกอบอาชีพ  ด้วยหลักสูตรระยะสั้น

การบริการวิชาชีพ  หมายถึง  การให้บริการแก่ชุมชน  ประชาชน  โดยนักศึกษา  ครู  ด้านวิชาชีพ  เช่น  การซ่อมแซม  ,  ปรับปรุง , สร้าง  หรือ อำนวยความสะดวกฯ

การอบรมวิชาชีพ  หมายถึง  การสอนหรือการฝึกให้ผู้เรียนมีความรู้ เพื่อนำไปประกอบอาชีพ  ด้วยหลักสูตรระยะสั้น

การบริการวิชาชีพ  หมายถึง  การให้บริการแก่ชุมชน  ประชาชน  โดยนักศึกษา  ครู  ด้านวิชาชีพ  เช่น  การซ่อมแซม  ,  ปรับปรุง , สร้าง  หรือ อำนวยความสะดวกฯ

5.  สูตรการคำนวณ  :

 

 

6. แหล่งข้อมูล / วิธีการจัดเก็บข้อมูล  :

งานหลักสูตรพิเศษ

งานหลักสูตรพิเศษ

7.  เงื่อนไขแห่งความสำเร็จ  :

-

-

8. ข้อมูลพื้นฐานประกอบตัวชี้วัด  :

-

-

9. ผู้กำกับดูแลตัวชี้วัด  :  ตำแหน่ง

รองผู้อำนวยการวิทยาลัย  ฝ่ายวิชาการ

รองผู้อำนวยการวิทยาลัย  ฝ่ายวิชาการ

10. เบอร์ติดต่อ       :

 

 

ผู้จัดเก็บข้อมูล  :  ชื่อ ,  ตำแหน่ง

หัวหน้างานหลักสูตรพิเศษ

หัวหน้างานหลักสูตรพิเศษ

เบอร์ติดต่อ

 

 

 

1. ตัวชี้วัด :

KPI  : 25. ร้อยละระดับความพึงพอใจและทัศนคติที่ชุมชนมีต่อวิทยาลัย  ด้านการสร้างความรู้สู่ชุมชน

KPI  : 26. จำนวนผู้ประกอบการรายใหม่

2. เป้าหมาย/หน่วยวัด :

เป้าหมายรวม  90 %   ปี  2549 =  70 %,  ปี  2550  =  75 %

ปี  2551 =  80 %,   ปี  2552 =   85 %,  ปี  2553 =  90 %

เป้าหมายรวม  20  ราย  ปี  2549 =  2  ราย ,  ปี  2550  =   3  ราย 

ปี  2551 =  4 ราย ,   ปี  2552 =   5  ราย ,  ปี  2553 =  6  ราย

3. น้ำหนัก  :

1

1

4. อธิบาย  :

ระดับความพึงพอใจ  หมายถึง  จำนวนระดับที่วิทยาลัยให้งานต่าง    กำหนดขึ้นเพื่อวัดระดับความพึงพอใจและทัศนคติที่ชุมชนมีต่อวิทยาลัยฯ  ด้านการสร้างความรู้สู่ชุมชน ทั้งหมดมี  5  ระดับ

ผู้ประกอบการใหม่  หมายถึง  การประกอบอาชีพที่ดำเนินโดยศิษย์เก่า ศิษย์ปัจจุบันและผู้เข้าร่วมโครงการ  ที่ผ่านการฝึกอบรม  หรือนำความรู้ที่ได้จากการศึกษา / ฝึกอบรม/ ไปใช้ในการเปิดกิจการขนาดเล็ก/ ขนาดใหญ่

5.  สูตรการคำนวณ  :

ร้อยละระดับความพึงพอใจและทัศนคติของชุมชน

                            จำนวนระดับ

 

6. แหล่งข้อมูล / วิธีการจัดเก็บข้อมูล  :

งานหลักสูตรพิเศษ

งานหลักสูตรพิเศษ

7.  เงื่อนไขแห่งความสำเร็จ  :

-

-

8. ข้อมูลพื้นฐานประกอบตัวชี้วัด  :

-

-

9. ผู้กำกับดูแลตัวชี้วัด  :  ตำแหน่ง

รองผู้อำนวยการวิทยาลัย  ฝ่ายวิชาการ

รองผู้อำนวยการวิทยาลัย  ฝ่ายวางแผนและพัฒนา

10. เบอร์ติดต่อ       :

 

 

ผู้จัดเก็บข้อมูล  :  ชื่อ ,  ตำแหน่ง

หัวหน้างานหลักสูตรพิเศษ

หัวหน้างานผลิตการค้าฯ

เบอร์ติดต่อ

 

 

 

1. ตัวชี้วัด :

KPI  : 27. จำนวนสินค้า OTOP ที่ได้รับการต่อยอด

KPI  : 28. ร้อยละของระดับความพึงพอใจของนักศึกษา  (ด้านบริหารจัดการ)

2. เป้าหมาย/หน่วยวัด :

เป้าหมายรวม  5  ชิ้น   ปี  2549 =  1  ชิ้น,  ปี  2550  =  1  ชิ้น

ปี  2551 =  1  ชิ้น,   ปี  2552 =   1  ชิ้น,  ปี  2553 =  1  ชิ้น

เป้าหมายรวม  70 %  ปี  2549 =  60 %,  ปี  2550  =   65 %

ปี  2551 =  65 %,   ปี  2552 =   70 %,  ปี  2553 =  70 %

3. น้ำหนัก  :

1

2

4. อธิบาย  :

OTOP  ที่ได้รับการต่อยอด  หมายถึง  ผลิตภัณฑ์ภายในชุมชน ที่มีการเพิ่มคุณค่าและราคาผลผลิต ด้วยวิธี การหรือกระบวนการที่นักศึกษาหรือครู  ดำเนินการ

ระดับความพึงพอใจ  หมายถึง  จำนวนระดับที่วิทยาลัยให้งานต่าง    กำหนดขึ้นเพื่อวัดระดับความพึงพอใจ  5  ระดับ

5.  สูตรการคำนวณ  :

 

 

6. แหล่งข้อมูล / วิธีการจัดเก็บข้อมูล  :

งานหลักสูตรพิเศษ

งานประกันคุณภาพ

7.  เงื่อนไขแห่งความสำเร็จ  :

-

-

8. ข้อมูลพื้นฐานประกอบตัวชี้วัด  :

-

-

9. ผู้กำกับดูแลตัวชี้วัด  :  ตำแหน่ง

รองผู้อำนวยการวิทยาลัย  ฝ่ายวางแผนและพัฒนา

รองผู้อำนวยการวิทยาลัย  ฝ่ายวางแผนและพัฒนา

10. เบอร์ติดต่อ       :

 

 

ผู้จัดเก็บข้อมูล  :  ชื่อ ,  ตำแหน่ง

หัวหน้างานผลิตการค้า

หัวหน้างานวิจัยและพัฒนา

เบอร์ติดต่อ

 

 

 

1. ตัวชี้วัด :

KPI  : 29. ร้อยละของระดับความพึงพอใจของผู้รับบริการ  (ด้านบริหารจัดการ)

KPI  : 30. ระดับคะแนนที่ผ่านการตรวจสอบและติดตามการบริหารจัดการ

2. เป้าหมาย/หน่วยวัด :

เป้าหมายรวม  80 %  ปี  2549 =  60 %,  ปี  2550  =   65 %

ปี  2551 =  70 %,   ปี  2552 =   75 %,  ปี  2553 =  80 %

เป้าหมายรวม  ระดับ  5  ปี  2549 =  ระดับ  3 ,   ปี  2550  =   ระดับ  4

ปี  2551 =  ระดับ  5,   ปี  2552 =   ระดับ  5,  ปี  2553 =  ระดับ  5

3. น้ำหนัก  :

1

4

4. อธิบาย  :

ระดับความพึงพอใจ  หมายถึง  จำนวนระดับที่วิทยาลัยให้งานต่าง    กำหนดขึ้นเพื่อวัดระดับความพึงพอใจ  5  ระดับ

การตรวจสอบและติดตามการบริหารจัดการ  หมายถึง    กระบวนการตรวจสอบ  และติดตาม  การบริหารงานตามแผนยุทธศาสตร์  ใน  4  มิติ  ตามตัวชี้วัด  เป้าหมาย  วัตถุประสงค์ 

5.  สูตรการคำนวณ  :

 

 

6. แหล่งข้อมูล / วิธีการจัดเก็บข้อมูล  :

แบบสอบถามและผู้กรอกข้อมูล/ แจกแจงความถี่และหาค่าเฉลี่ยจากแบบสอบถาม

คณะกรรมการบริหารยุทธศาสตร์

7.  เงื่อนไขแห่งความสำเร็จ  :

 

-

8. ข้อมูลพื้นฐานประกอบตัวชี้วัด  :

-

-

9. ผู้กำกับดูแลตัวชี้วัด  :  ตำแหน่ง

รองผู้อำนวยการวิทยาลัย  ฝ่ายวางแผนและพัฒนา

รองผู้อำนวยการวิทยาลัย  ฝ่ายส่งเสริมการศึกษา

10. เบอร์ติดต่อ       :

 

 

ผู้จัดเก็บข้อมูล  :  ชื่อ ,  ตำแหน่ง

หัวหน้างานวิจัยและพัฒนา

คณะกรรมการการบริหารยุทธศาสตร์

เบอร์ติดต่อ

 

 

 

1. ตัวชี้วัด :

KPI  : 31. ระดับความสำร็จของการดำเนินงานตามมาตรการป้องกันและปราบปรามทุจริตและประพฤติมิชอบ

KPI  : 32. ร้อยละของงบประมาณที่สามารถประหยัดได้

2. เป้าหมาย/หน่วยวัด :

ระดับ  5 

เป้าหมายรวม  5 %   ปี  2549 =  5  % ,   ปี  2550  =  5  % 

ปี  2551 =  5  % ,   ปี  2552 =   5  %  ,  ปี  2553 =  5  %

3. น้ำหนัก  :

1

3

4. อธิบาย  :

ระดับความสำร็จของการดำเนินงานตามมาตรการป้องกันและปราบปรามทุจริตและประพฤติมิชอบ  หมายถึง  ระดับชั้นของความสำเร็จ  (Milestone)   5  ระดับ  เพื่อแสดงความก้าวหน้าของขั้นตอนการดำเนินงานตามมาตรา  ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ

ค่าสาธารณูปโภค  ได้แก่  ค่าใช้จ่ายด้านการไฟฟ้า  ค่าน้ำประปา

ค่าโทรศัพท์  และค่าน้ำมันรถยนต์

5.  สูตรการคำนวณ  :

 

ค่าสาธารณูปโภคในปีปัจจุบัน  -  ปีก่อน

     ค่าสาธารณูปโภคในปีก่อน

6. แหล่งข้อมูล / วิธีการจัดเก็บข้อมูล  :

งานประกันคุณภาพ

งานการเงินและบัญชี  /ข้อมูลค่าใช้จ่ายค่าสาธารณูปโภค และค่าน้ำมันรถยนต์  จากงานที่เกี่ยวข้อง

7.  เงื่อนไขแห่งความสำเร็จ  :

-

ค่าสาธารณูปโภคลดลดอย่างน้อย  5 %  ต่อปี

8. ข้อมูลพื้นฐานประกอบตัวชี้วัด  :

-

-

9. ผู้กำกับดูแลตัวชี้วัด  :  ตำแหน่ง

รองผู้อำนวยการวิทยาลัย  ฝ่ายวิชาการ

รองผู้อำนวยการวิทยาลัย  ฝ่ายส่งเสริมการศึกษา

10. เบอร์ติดต่อ       :

 

 

ผู้จัดเก็บข้อมูล  :  ชื่อ ,  ตำแหน่ง

หัวหน้างานประกันคุณภาพ

หัวหน้างานการเงิน

เบอร์ติดต่อ

 

 

 

1. ตัวชี้วัด :

KPI  : 33. ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนัก ในการลดรอบระยะเวลาของขั้นตอนการปฏิบัติงาน

KPI  : 34. ร้อยละของจำนวนครูที่ได้รับการเลื่อนวิทยฐานะ

2. เป้าหมาย/หน่วยวัด :

เป้าหมายรวม  5 %   ปี  2549 =  30  % ,   ปี  2550  =  50  %  ปี  2551 =  50  % ,   ปี  2552 =   50  %  ,  ปี  2553 =  50  %

80  %  

3. น้ำหนัก  :

3

1

4. อธิบาย  :

การลดรอบระยะเวลา หมายถึง  ระยะเวลาการดำเนินการที่ให้บริการแก่ผู้ใช้บริการ  ลดเวลาลง หรือตัดขั้นตอนในการให้บริการโดยผู้ใช้บริการมีความพึงพอใจ

วิทยฐานะ  หมายถึง  ฐานะทางตำแหน่งของครูที่ผ่านประเมินในระดับ ชำนาญการ  ชำนาญการพิเศษ  

5.  สูตรการคำนวณ  :

 

จำนวนครูที่ได้รับการประเมินวิทยฐานะ

      จำนวนครูทั้งหมดในสถานศึกษา

6. แหล่งข้อมูล / วิธีการจัดเก็บข้อมูล  :

งานสารบรรณ

งานบุคลากร

7.  เงื่อนไขแห่งความสำเร็จ  :

การปฏิบัติงานใช้ระยะเวลาลดลงจากการทำงานปกติ

ครูมีข้อมูล  ร่องรอย   หลักฐานพร้อมรับการประเมินตามระยะเวลา

8. ข้อมูลพื้นฐานประกอบตัวชี้วัด  :

-

-

9. ผู้กำกับดูแลตัวชี้วัด  :  ตำแหน่ง

รองผู้อำนวยการวิทยาลัย  ฝ่ายส่งเสริมการศึกษา

รองผู้อำนวยการวิทยาลัย  ฝ่ายส่งเสริมการศึกษา

10. เบอร์ติดต่อ       :

 

 

ผู้จัดเก็บข้อมูล  :  ชื่อ ,  ตำแหน่ง

คณะกรรมการบริหารยุทธศาสตร์

หัวหน้างานบุคลากร

เบอร์ติดต่อ

 

 

 

1. ตัวชี้วัด :

KPI  : 35. จำนวนบุคลากรที่เพิ่มวุฒิทางการศึกษา

KPI  : 36. ร้อยละของครูและบุคลากรทางการศึกษาที่ได้ศึกษาดูงานทั้งในและต่างประเทศ

2. เป้าหมาย/หน่วยวัด :

เป้าหมายรวม  170  คน   ปี  2549 =  30  คน,   ปี  2550  =   30  คน   ,  ปี  2551 =  35  คน,   ปี  2552 =   35  คน, 

ปี  2553 =  40  คน

เป้าหมายรวม  90 %    ปี  2549 =  75 %,   ปี  2550  =   75 %,  ปี  2551 =  80 %,   ปี  2552 =   85 %,   ปี  2553 =  90 %

3. น้ำหนัก  :

1

3

4. อธิบาย  :

เพิ่มวุฒิทางการศึกษา  หมายถึง  การศึกษาต่อในระดับที่สูงขึ้นจากเดิม

ศึกษาดูงาน  หมายถึง  การศึกษาดูงาน ด้านวิชาการ  กีฬา  สุขภาพอนามัย  นันทนาการ  และอื่น ๆ  ที่เกี่ยวข้องกับการศึกษา

5.  สูตรการคำนวณ  :

 

จำนวนครูและบุคลากรทางการศึกษาที่ได้ศึกษาดูงานทั้งในและต่างประเทศ

 

    จำนวนครูและบุคลากรทางการศึกษาทั้งหมดในสถานศึกษา

6. แหล่งข้อมูล / วิธีการจัดเก็บข้อมูล  :

งานบุคลากร

งานบุคลากร

7.  เงื่อนไขแห่งความสำเร็จ  :

-

คณะกรรมการที่พิจารณาผลงานมีจำนวนน้อยอาจทำให้ผลสำเร็จล่าช้า

8. ข้อมูลพื้นฐานประกอบตัวชี้วัด  :

-

-

9. ผู้กำกับดูแลตัวชี้วัด  :  ตำแหน่ง

รองผู้อำนวยการวิทยาลัย  ฝ่ายส่งเสริมการศึกษา

รองผู้อำนวยการวิทยาลัย  ฝ่ายส่งเสริมการศึกษา

10. เบอร์ติดต่อ       :

 

 

ผู้จัดเก็บข้อมูล  :  ชื่อ ,  ตำแหน่ง

หัวหน้างานบุคลากร

หัวหน้างานบุคลากร

เบอร์ติดต่อ

 

 

 

1. ตัวชี้วัด :

KPI  : 37. ร้อยละของจำนวนครั้งที่ครูและบุคลากรทางการศึกษาได้รับการ อบรมและประชุมอย่างน้อย 2 ครั้ง/คน/ปี

KPI  : 38. จำนวนครูที่มีความเชี่ยวชาญเฉพาะด้าน

2. เป้าหมาย/หน่วยวัด :

เป้าหมายรวม  90 %    ปี  2549 =  75 %,   ปี  2550  =   75 %, 

ปี  2551 =  80 %,   ปี  2552 =   85 %,   ปี  2553 =  90 %

เป้าหมายรวม  75  คน    ปี  2549 =   5  คน,   ปี  2550  =   10  คน, 

ปี  2551 =  15  คน,   ปี  2552 =   20  คน,   ปี  2553 =  75  คน

3. น้ำหนัก  :

3

1

4. อธิบาย  :

การอบรมและประชุม  หมายถึง การอบรมและประชุมทางด้านวิชาการ และอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องการกับการจัดการศึกษา  

 

ความเชี่ยวชาญในวิชาชีพ  หมายถึง  การผ่านการฝึกงานในสถานประกอบการและความสามารถในการทำวิจัย  สิ่งประดิษฐ์  นวัตกรรม  ที่เกี่ยวข้องกับการจัดการศึกษา  การเรียนการสอน

5.  สูตรการคำนวณ  :

จำนวนครูและบุคลากรทางการศึกษาที่ได้รับการอบรมและประชุม

 

            จำนวนครูและบุคลากรทั้งหมดในสถานศึกษา

จำนวนครูที่มีความเชี่ยวชาญเฉพาะด้าน

 

     จำนวนครูทั้งหมดในสถานศึกษา เส้น

6. แหล่งข้อมูล / วิธีการจัดเก็บข้อมูล  :

งานบุคลากร

งานทวิภาคี

7.  เงื่อนไขแห่งความสำเร็จ  :

-

-

8. ข้อมูลพื้นฐานประกอบตัวชี้วัด  :

-

-

9. ผู้กำกับดูแลตัวชี้วัด  :  ตำแหน่ง

รองผู้อำนวยการวิทยาลัย  ฝ่ายส่งเสริมการศึกษา

รองผู้อำนวยการวิทยาลัย  ฝ่ายวิชาการ

10. เบอร์ติดต่อ       :

 

 

ผู้จัดเก็บข้อมูล  :  ชื่อ ,  ตำแหน่ง

หัวหน้างานบุคลากร

หัวหน้าคณะวิชา

เบอร์ติดต่อ

 

 

 

1. ตัวชี้วัด :

KPI  : 39.  ระดับความสำเร็จของแผนการจัดการความรู้เพื่อสนับสนุนประเด็นยุทธศาสตร์

KPI  : 40. ระดับคุณภาพของระบบสารสนเทศ

2. เป้าหมาย/หน่วยวัด :

ระดับ  5   

ระดับ  5   

3. น้ำหนัก  :

1

3

4. อธิบาย  :

ความสำเร็จของแผนการจัดการความรู้เพื่อสนับสนุนประเด็นยุทธศาสตร์  หมายถึง  การกำหนดเป็นขั้นตอนของคุณภาพของแผนโดยแบ่งเกณฑ์ให้คะแนนเป็น  5  ระดับ  ตามรูปแบบของการลงนามคำรับรองการปฏิบัติราชการ

คุณภาพของระบบสารสนเทศ   หมายถึง  การพิจารณาความสำเร็จของการพัฒนาระบบสารสนเทศ  โดยวัดผลจากความก้าวหน้าและขั้นตอนการดำเนินงานตามเป้าหมายที่กำหนดในแต่ละระดับ  ตามคำรับรองการปฎิบัติราชการ

5.  สูตรการคำนวณ  :

 

 

6. แหล่งข้อมูล / วิธีการจัดเก็บข้อมูล  :

ฝ่ายวางแผนและพัฒนา

ฝ่ายวางแผนและพัฒนา

7.  เงื่อนไขแห่งความสำเร็จ  :

-

-

8. ข้อมูลพื้นฐานประกอบตัวชี้วัด  :

-

-

9. ผู้กำกับดูแลตัวชี้วัด  :  ตำแหน่ง

รองผู้อำนวยการวิทยาลัย  ฝ่ายวางแผนและพัฒนา

รองผู้อำนวยการวิทยาลัย  ฝ่ายวางแผนและพัฒนา

10. เบอร์ติดต่อ       :

 

 

ผู้จัดเก็บข้อมูล  :  ชื่อ ,  ตำแหน่ง

หัวหน้างานศูนย์ข้อมูล

หัวหน้างานศูนย์ข้อมูล

เบอร์ติดต่อ

 

 

 

1. ตัวชี้วัด :

KPI  : 41. ระดับการใช้ประโยชน์ของระบบสารสนเทศ

KPI  : 42. ร้อยละของระดับความพึงพอใจของนักศึกษาต่อสถานที่  ห้องเรียน  ห้องปฏิบัติการ  สิ่งแวดล้อม และระบบสารสนเทศ

2. เป้าหมาย/หน่วยวัด :

เป้าหมายรวม  ระดับ  5    ปี  2549 =  ระดับ  4,   ปี  2550  =   ระดับ  5,  ปี  2551 =  ระดับ  5,   ปี  2552 =   ระดับ  5,   ปี  2553 =  ระดับ  5

เป้าหมายรวม  80 %    ปี  2549 =  60 %,   ปี  2550  =   65 %,  ปี  2551 =  70 %,   ปี  2552 =   75 %,   ปี  2553 =  80 %

3. น้ำหนัก  :

2

2

4. อธิบาย  :

การใช้ประโยชน์ระบบสารสนเทศ  หมายถึง  การนำเทคโนโลยีสมัยใหม่เข้ามาใช้ทำให้การบริหารและปฏิบัติงานมีความคล่องตัวมากขึ้นการจัดเก็บและรวบรวมข้อมูลสมบูรณ์มากขึ้น

ระดับคุณภาพ  หมายถึง  ยังไม่เป็นที่ยอมรับ   =  ระดับ 1 ,

ปกติ    =  ระดับ 2 ,  ค่อนข้างดี  =   ระดับ  3  ดี  =  ระดับ 4 ,

ดีเยี่ยม  =  5

ความพึงพอใจ  หมายถึง  ความพอใจของนักศึกษาที่มีต่อสภาพการดำเนินงานของวิทยาลัยในเรื่องสถานที่ ห้องเรียน  ห้องปฏิบัติการ  สิ่งแวดล้อม  และ  ICT

5.  สูตรการคำนวณ  :

 

 

6. แหล่งข้อมูล / วิธีการจัดเก็บข้อมูล  :

งานศูนย์ข้อมูล

งานอาคารสถานที่

7.  เงื่อนไขแห่งความสำเร็จ  :

-

-

8. ข้อมูลพื้นฐานประกอบตัวชี้วัด  :

-

-

9. ผู้กำกับดูแลตัวชี้วัด  :  ตำแหน่ง

รองผู้อำนวยการวิทยาลัย  ฝ่ายวางแผนและพัฒนา

รองผู้อำนวยการวิทยาลัย  ฝ่ายส่งเสริมการศึกษา

10. เบอร์ติดต่อ       :

 

 

ผู้จัดเก็บข้อมูล  :  ชื่อ ,  ตำแหน่ง

หัวหน้างานศูนย์ข้อมูล

หัวหน้างานอาคารสถานที่

เบอร์ติดต่อ

 

 

 

1. ตัวชี้วัด :

KPI  : 43. ร้อยละของจำนวนนักศึกษาที่ใช้บริการห้องสมุดวิชาชีพ

KPI  : 44. จำนวนครั้งการประชาสัมพันธ์และเผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร  รวมทั้งกิจกรรมต่าง    ของวิทยาลัย

2. เป้าหมาย/หน่วยวัด :

เป้าหมายรวม  85 %    ปี  2549 =  70 %,   ปี  2550  =   70 %,  ปี  2551 =  75 %,   ปี  2552 =   80 %,   ปี  2553 =  85 %

เป้าหมายรวม  285  ครั้ง    ปี  2549 =  50  ครั้ง,   ปี  2550  =   50  ครั้ง,  ปี  2551 =  60  ครั้ง,   ปี  2552 =   60  ครั้ง,   ปี  2553 =  65  ครั้ง

3. น้ำหนัก  :

3

2

4. อธิบาย  :

ห้องสมุดวิชาชีพ  หมายถึง ห้องสมุดที่มีองค์ความรู้ทางด้านวิชาชีพหลากหลาย  เพื่อให้นักศึกษาค้นคว้าตามแผนกวิชา

การประชาสัมพันธ์  หมายถึง  การให้ข้อมูลข่าวสาร  กิจกรรมต่าง ๆ ของวิทยาลัย  ให้ประชาชนทั่วไปได้รับรู้ข้อมูลข่าวสาร และกิจกรรมต่าง 

5.  สูตรการคำนวณ  :

 

 

 

 

6. แหล่งข้อมูล / วิธีการจัดเก็บข้อมูล  :

งานห้องสมุด

งานประชาสัมพันธ์

7.  เงื่อนไขแห่งความสำเร็จ  :

-

-

8. ข้อมูลพื้นฐานประกอบตัวชี้วัด  :

-

-

9. ผู้กำกับดูแลตัวชี้วัด  :  ตำแหน่ง

รองผู้อำนวยการวิทยาลัย  ฝ่ายวิชาการ

รองผู้อำนวยการวิทยาลัย  ฝ่ายส่งเสริมการศึกษา

10. เบอร์ติดต่อ       :

 

 

ผู้จัดเก็บข้อมูล  :  ชื่อ ,  ตำแหน่ง

หัวหน้าแผนก/สาขาวิชา/สาขางาน

หัวหน้างานประชาสัมพันธ์

เบอร์ติดต่อ

 

 

 

1. ตัวชี้วัด :

KPI  : 45. ร้อยละระดับความพึงพอใจของผู้ใช้บริการด้านกีฬา

KPI  : 46. จำนวนนักกีฬาที่เป็นตัวแทนในการแข่งขันกีฬาระดับภาค

2. เป้าหมาย/หน่วยวัด :

เป้าหมายรวม  90 %    ปี  2549 =  70 %,   ปี  2550  =   75 %,  ปี  2551 =  80 %,   ปี  2552 =   85 %,   ปี  2553 =  90 %

เป้าหมายรวม  15  คน    ปี  2549 =  1  คน,   ปี  2550  =   2   คน,

 ปี  2551 =  3  คน,   ปี  2552 =   4  คน,   ปี  2553 =  5  คน

3. น้ำหนัก  :

0.5

1

4. อธิบาย  :

ระดับความพึงพอใจ  หมายถึง  จำนวนระดับที่วิทยาลัย ให้งานต่าง ๆ  กำหนดขึ้นเพื่อวัดระดับความพึงพอใจทั้งหมดมี  5  ระดับ

 

5.  สูตรการคำนวณ  :

 

 

6. แหล่งข้อมูล / วิธีการจัดเก็บข้อมูล  :

แบบสอบถามและผู้กรอกข้อมูล

งานกิจกรรมนักเรียนนักศึกษา

7.  เงื่อนไขแห่งความสำเร็จ  :

ระดับความพึงพอใจของเรื่องการเพิ่มประสิทธิภาพการดำเนินการไม่ต่ำกว่า  3.00

-

8. ข้อมูลพื้นฐานประกอบตัวชี้วัด  :

เน้นแบบสอบถามที่ผ่านความเห็นชอบจากคณะผู้บริหาร

-

9. ผู้กำกับดูแลตัวชี้วัด  :  ตำแหน่ง

รองผู้อำนวยการวิทยาลัย  ฝ่ายกิจการนักศึกษา

รองผู้อำนวยการวิทยาลัย  ฝ่ายกิจการนักศึกษา

10. เบอร์ติดต่อ       :

 

 

ผู้จัดเก็บข้อมูล  :  ชื่อ ,  ตำแหน่ง

หัวหน้างานกิจกรรมนักเรียนนักศึกษา

หัวหน้างานกิจกรรมนักเรียนนักศึกษา

เบอร์ติดต่อ

 

 

 

1. ตัวชี้วัด :

KPI  : 47. ร้อยละของจำนวนครู  นักศึกษา ที่เข้าร่วมกิจกรรม

KPI  : 48. จำนวนหน่วยงานที่เข้าร่วมกิจกรรมกีฬาสัมพันธ์หน่วยงาน

2. เป้าหมาย/หน่วยวัด :

เป้าหมายรวม  80 %    ปี  2549 =  60 %,   ปี  2550  =   65 %,  ปี  2551 =  70 %,   ปี  2552 =   75 %,   ปี  2553 =  80 %

เป้าหมายรวม  65  หน่วยงาน    ปี  2549 =  10  หน่วยงาน,  

ปี  2550  =   10  หน่วยงาน,  ปี  2551 =  15  หน่วยงาน,  

ปี  2552 =   15  หน่วยงาน,   ปี  2553 =  15  หน่วยงาน

3. น้ำหนัก  :

1

1

4. อธิบาย  :

กิจกรรม หมายถึง  กิจกรรมเสริมหลักสูตรพัฒนาผู้เรียน  ด้านวิชาการ  คุณธรรม  จริยธรรม  ค่านิยมที่ดีงานในวิชาชีพ  บุคลิกภาพ อนุรักษ์ธรรมชาติสิ่งแวดล้อม  วัฒนธรรม  ประเพณี  ทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม  ทั้งภายในและภายนอกสถานศึกษา

หน่วยงานที่เข้าร่วมกิจกรรมกีฬาสัมพันธ์หน่วยงาน  หมายถึง  หน่วยงานที่เข้าร่วมกิจกรรมกีฬา สร้างความสัมพันธ์ระหว่างหน่วยงานด้วยกัน  และวิทยาลัยฯ

5.  สูตรการคำนวณ  :

 

 

6. แหล่งข้อมูล / วิธีการจัดเก็บข้อมูล  :

งานกิจกรรมนักเรียนนักศึกษา

งานกิจกรรมนักเรียนนักศึกษา

7.  เงื่อนไขแห่งความสำเร็จ  :

 

-

8. ข้อมูลพื้นฐานประกอบตัวชี้วัด  :

 

-

9. ผู้กำกับดูแลตัวชี้วัด  :  ตำแหน่ง

รองผู้อำนวยการวิทยาลัย  ฝ่ายกิจการนักศึกษา

รองผู้อำนวยการวิทยาลัย  ฝ่ายกิจการนักศึกษา

10. เบอร์ติดต่อ       :

 

 

ผู้จัดเก็บข้อมูล  :  ชื่อ ,  ตำแหน่ง

หัวหน้างานกิจกรรมนักเรียนนักศึกษา

หัวหน้างานกิจกรรมนักเรียนนักศึกษา

เบอร์ติดต่อ

 

 

 

1. ตัวชี้วัด :

KPI  : 49. ร้อยละของจำนวนครู นักศึกษาที่เข้าร่วมกิจกรรมทางศาสนา

KPI  : 50. ระดับความพึงพอใจของผู้ใช้สถานที่ปฏิบัติศาสนากิจ

2. เป้าหมาย/หน่วยวัด :

เป้าหมายรวม  80 %    ปี  2549 =  60 %,   ปี  2550  =   65 %,  ปี  2551 =  70 %,   ปี  2552 =   75 %,   ปี  2553 =  80 %

เป้าหมายรวม  ระดับ  5    ปี  2549 =  ระดับ  4 ,   ปี  2550  =   ระดับ  5,   ปี  2551 =  ระดับ  5 ,   ปี  2552 =   ระดับ  5 ,   ปี  2553 =  ระดับ  5

3. น้ำหนัก  :

2

0.5

4. อธิบาย  :

 

สถานที่หมายถึง  สถานที่ที่สถานศึกษาได้กำหนดให้ใช้ในการปฏิบัติกิจกรรมทางศาสนา ของทุกศาสนา  

5.  สูตรการคำนวณ  :

 

 

6. แหล่งข้อมูล / วิธีการจัดเก็บข้อมูล  :

งานกิจกรรมนักเรียนนักศึกษา

งานอาคารสถานที่

7.  เงื่อนไขแห่งความสำเร็จ  :

 

-

8. ข้อมูลพื้นฐานประกอบตัวชี้วัด  :

 

-

9. ผู้กำกับดูแลตัวชี้วัด  :  ตำแหน่ง

รองผู้อำนวยการวิทยาลัย  ฝ่ายกิจการนักศึกษา

รองผู้อำนวยการวิทยาลัย  ฝ่ายส่งเสริมการศึกษา

10. เบอร์ติดต่อ       :

 

 

ผู้จัดเก็บข้อมูล  :  ชื่อ ,  ตำแหน่ง

หัวหน้างานกิจกรรมนักเรียนนักศึกษา

หัวหน้างานอาคารสถานที่

เบอร์ติดต่อ

 

 

 

1. ตัวชี้วัด :

KPI  : 51. จำนวนครั้งในการจัดกิจกรรมส่งเสริมและอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่น

 

2. เป้าหมาย/หน่วยวัด :

เป้าหมายรวม  35  ครั้ง    ปี  2549 =  5  ครั้ง,   ปี  2550  =   6  ครั้ง,  ปี  2551 =  7  ครั้ง,   ปี  2552 =   8  ครั้ง,   ปี  2553 =  9  ครั้ง

 

3. น้ำหนัก  :

2

 

4. อธิบาย  :

 

 

5.  สูตรการคำนวณ  :

 

 

6. แหล่งข้อมูล / วิธีการจัดเก็บข้อมูล  :

งานกิจกรรมนักเรียนนักศึกษา

 

7.  เงื่อนไขแห่งความสำเร็จ  :

 

 

8. ข้อมูลพื้นฐานประกอบตัวชี้วัด  :

 

 

9. ผู้กำกับดูแลตัวชี้วัด  :  ตำแหน่ง

รองผู้อำนวยการวิทยาลัย  ฝ่ายกิจการนักศึกษา

 

10. เบอร์ติดต่อ       :

 

 

ผู้จัดเก็บข้อมูล  :  ชื่อ ,  ตำแหน่ง

หัวหน้างานกิจกรรมนักเรียนนักศึกษา

 

เบอร์ติดต่อ